• คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    Faculty of Fine and Applied Arts Thammasat University
  • สาขาวิชาการละคอน
    Theatre
  • สาขาวิชาศิลปะการออกแบบพัสตราภรณ์
    Textile and Fashion Design
  • สาขาวิชาออกแบบหัตถอุตสาหกรรม
    Industrial Crafts Design

หลักสูตรคณะศิลปกรรมศาสตร์


สาขาวิชาการละคอน

สาขาวิชาการละคอน

สาขาวิชาการละคอน เน้นความเป็นเลิศด้านความคิดสร้างสรรค์และวิชาการที่สามารถเชื่อมโยงกับ สังคมร่วมสมัยและได้รับการยอมรับในวงกว้าง โดยมีจุดมุ่งหมายให้นักศึกษาเป็นผู้ใฝ่การเรียนรู้และพัฒนาตนเองไปตลอดชีวิต...อ่านเพิ่มเติม


สาขาวิชาการละคอน

สาขาวิชาศิลปะการออกแบบพัสตราภรณ์

สาขาวิชาศิลปะการออกแบบพัสตราภรณ์

สาขาวิชาศิลปะการออกแบบพัสตราภรณ์ เป็นสาขาวิชาที่มุ่งให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับพัฒนาการของสิ่งทอ และเครื่องแต่งกายของไทย ตะวันออก และตะวันตก เพื่อสืบทอดมรดกศิลปะสิ่งทอของไทย ในท้องถิ่นต่างๆ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อวงวิชาการ และเพื่อเผยแพร่ความรู้ให้แก่สาธารณชน...อ่านเพิ่มเติม


สาขาวิชาศิลปะการออกแบบพัสตราภรณ์

สาขาวิชาออกแบบหัตถอุตสาหกรรม

สาขาวิชาออกแบบหัตถอุตสาหกรรม

สาขาวิชาออกแบบหัตถอุตสาหกรรม เป็นการผสมผสานระหว่างภูมิปัญญา สุนทรียภาพทางศิลปหัตถกรรม ผนวกกับความคิดริเริ่มและทักษะทางการออกแบบกับกระบวนการเชิงอุตสาหกรรม โดยมีฐานจากองค์ความรู้และทักษะที่หลากหลายซึ่งบูรณาการเข้าด้วยกัน...อ่านเพิ่มเติม


สาขาวิชาออกแบบหัตถอุตสาหกรรม

หัวหน้าสาขาวิชาออกแบบหัตถอุตสาหกรรม

 

 

การศึกษา 

      -   2542  ปริญญาตรี  (ค.อ.บ) ศิลปอุตสาหกรรม ครุศาสตรสถาปัตยกรรม  สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
      -   2546  ปริญญาโท (ค.อ.ม) เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ครุศาสตรสถาปัตยกรรม
สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ประวัติการแสดงงานและผลงานทางวิชาการ

      -   ร่วมแสดงผลงานในนิทรรศการ ศิลปะ รักชาติ รักโลก: Art Nation Earth / ชื่อผลงาน  Spoon-Body Chairs / จัดโดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (แสดงในปี 2552)
      -   ร่วมแสดงผลงานในนิทรรศการ Identity 2 / ชื่อผลงาน เหงา ( Tua-ngoa ) /  จัดโดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (แสดงในปี 2555)
      -   การศึกษาและพัฒนาการนำเอาเส้นใยพืชผักตบชวามาประยุกต์เข้ากับการดุนลายอลูมิเนียมเพื่อนำมาออกแบบเครื่องเรือนในสไตล์ล้านนา (กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2552)                                                                                     
     -   “งานวิจัยไทบ้าน” โครงการ การส่งเสริมงานวิจัยไทบ้านเพื่อพัฒนางานหัตถกรรมจากใบหญ้าแฝก ในหัวข้อเรื่อง โครงการออกแบบโคมไฟเพื่อการตกแต่งโดยใช้หญ้าแฝกผสมผสานกับวัสดุในท้องถิ่น 
          โครงงานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากการประกวดการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝก อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ปี 2552 บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน)  
      -   โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยใช้วัสดุเศษหินอันเกิดจากกระบวนการผลิตครกหินเพื่อการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ,เศรษฐกิจ,สังคมคุณภาพชีวิต และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด :  กรณีศึกษา ชุมชนบ้านไร่ศิลาทอง ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำปาง                                                                  
          โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณตามพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554  แผนงานบริหารจังหวัด ( งบพัฒนาจังหวัด ) จังหวัดลำปาง
      -   โครงการพัฒนาหัตถอุตสาหกรรมไม้แกะสลักและอัตลักษณ์แบรนด์เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ    กรณีศึกษา หมู่บ้านแกะสลักบ้านหลุก ต.นาครัว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง
       โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณตามพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557  แผนงานบริหารจังหวัด ( งบพัฒนาจังหวัด ) จังหวัดลำปาง

 


นิทรรศการ

นิทรรศการ

นิทรรศการของคณะศิลปกรรมศาสตร์


นิทรรศการ

โครงการ

โครงการ

โครงการของคณะศิลปกรรมศาสตร์


โครงการ

รางวัลที่ได้รับ

รางวัลที่ได้รับ

รางวัลที่ได้รับ


รางวัลที่ได้รับ

รายงานประจำปี

รายงานประจำปีแสดงผลการดำเนินงานและกิจกรรมต่างๆของคณะศิลปกรรมศาสตร์

Read More...
ระบบประชุมออนไลน์

เข้าสู่ระบบประชุมออนไลน์

Read More...
บุคลากรสายวิชาการ

Download แบบฟอร์ม และ Link ต่างๆ สำหรับบุคลากรสายวิชาการ

Read More...
บุคลากรสายสนับสนุน

Download แบบฟอร์ม และ Link ต่างๆ สำหรับบุคลากรสายสนับสนุน

Read More...
นักศึกษา

Download แบบฟอร์ม และ Link ต่างๆ สำหรับนักศึกษา

Read More...
Free Accordion Module

 

 

 

Follow us

joomla social media module

Contact us

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  99 ม.18 ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12121

  โทรศัพท์   02 - 6966305  

  โทรสาร Fax (อัตโนมัติ )   02 - 9868601